หุ่นยนต์สามารถทำงานร่วมกับมนุษย์ได้หรือไม่?

หุ่นยนต์สามารถทำงานร่วมกับมนุษย์ได้หรือไม่

จากการพูดถึงเป็นครั้งแรกของหุ่นยนต์ในละครเรื่อง R.U.R. เมื่อปี 1920 โดยนักเขียนบทละครชาวเช็กชื่อ Karel Čapek ในช่วงเวลาปัจจุบันเมื่อหุ่นยนต์การผลิตได้ส่งผลต่ออุตสาหกรรมอย่างมากและแพร่หลาย แนวคิดของหุ่นยนต์มีความหมายแตกต่างกันออกไป แม้ภาพวาดแบบคลาสสิกของหุ่นยนต์โดยทั่วไปจะมีรูปร่างเหมือนมนุษย์

หุ่นยนต์การผลิตมีความสามารถในการปฏิบัติงานที่อันตรายและงานหนักซ้ำๆ ได้ แม้ในสภาพแวดล้อมที่มนุษย์ไม่สามารถทนได้ และข้อเท็จจริงนี้ที่จึงช่วยขับเคลื่อนความคิดที่จะนำหุ่นยนต์มาใช้ในการผลิต ซึ่งจำเป็นต้องมีการสูญเสียงานในภาคอุตสาหกรรมสำหรับมนุษย์อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ในขณะที่การปรับเปลี่ยนลักษณะการทำงานและกระจายแรงงาน เพื่อการนำหุ่นยนต์อุตสาหกรรมมาใช้นั้น ก็ยังมีอีกหลายปัจจัยที่เลือกที่จะปฏิเสธการใช้หุ่นยนต์ในการทำงานที่จะทำให้สูญเสียแรงงาน

การศึกษาและประสบการณ์มากมายที่ถูกแบ่งปันภายในอุตสาหกรรม แสดงให้เห็นว่าปัจจัยหลักในการรักษางานการผลิตนั้น เมื่อเครื่องจักรอุตสาหกรรมอัตโนมัติเข้ามาในภาพ ก็คือการใช้งานของเครื่องจักรอัตโนมัตินั้นมักจะสลับเปลี่ยนในการเคลื่อนย้ายการส่งออกการผลิต และในขณะที่เป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่หลายว่าการใช้หุ่นยนต์ในอุตสาหกรรม จะช่วยลดการเกิดอันตรายต่อแรงงานคนจากการยกของหนัก ความเครียดซ้ำๆ และการทำงานที่อันตราย ซึ่งผลลัพธ์ที่สำคัญของการนำเข้ามาของหุ่นยนต์อุตสาหกรรมคือการผลัดเปลี่ยนของคนงานให้เข้ากับทักษะการทำงาน ไปจนถึงการเขียนโปรแกรมและการดูแลรักษาหุ่นยนต์

robots 1

 

การนำเข้ามาอย่างแพร่หลายของหุ่นยนต์อุตสาหกรรมในบางกรณี การว่าจ้างงานเพิ่มขึ้นอย่างน่าสังเกตุ แม้ด้วยเหตุผลที่แตกต่างกันขึ้นอยู่กับเงื่อนไขเบื้องต้นในภาคการผลิต ดำเนินการโดย International Federation of Robotics (IFR) ได้ระบุข้อสำคัญสำหรับปัญหาการว่างงานที่ลดน้อยลงในบราซิลและเยอรมันนี เกิดขึ้นพร้อมกับการนำเข้ามาของหุ่นยนต์อุตสาหกรรมเป็นจำนวนมาก

บราซิล ประเทศที่มีอัตราการเติบโตของอุตสาหกรรมต่ำในช่วงปีแรกๆ ของการศึกษา การนำเข้ามาของหุ่นยนต์อุตสาหกรรมทำให้เกิดการผลิตเพิ่มขึ้น ซึ่งนำไปสู่การเพิ่มขึ้นของงานทุกประเภทในภาคการผลิตที่ได้รับอิทธิพล อีกนัยหนึ่ง ในกรณีการนำเข้าของหุ่นยนต์เป็นสิ่งสำคัญในการสร้างโอกาสการว่าจ้างงานในอุตสาหกรรมที่ไม่เคยมีอยู่ในก่อนหน้านี้

เยอรมันนีเป็นอีกหนึ่งประเทศที่มีความก้าวหน้าทางอุตสาหกรรมมากที่สุด มีการลงทุนในหุ่นยนต์ค่อนข้างมาก (แม้ว่าจะล้าหลังกว่าญี่ปุ่นและเกาหลีใต้ก็ตาม) ทำให้การว่างงานลดลง เนื่องจากมีการอนุญาตให้ใช้หุ่นยนต์ในอุตสาหกรรมได้ และเพื่อให้หุ่นยนต์สามารถแข่งขันในตลาดโลกได้

เป็นความจริงที่จะกล่าวว่าในรายละเอียดงานบางอย่างของแรงงานมนุษย์ไม่สามารถแทนที่ด้วยหุ่นยนต์ได้ การนำหุ่นยนต์มาใช่จึงเป็นการใช้งานแค่ในบางงาน และแรงงานมนุษย์สามารถทำงานอื่นๆ ได้

ในขณะที่พนักงานที่มีทักษะต่ำกว่าอาจจะได้เปลี่ยนไปทำงานใหม่ที่เกี่ยวกับการจำหน่ายและการบริการแทน ประสบการณ์และความรู้เกี่ยวกับขั้นตอนการทำงานของพนักงานที่มีการทำงานซ้ำๆ งานจะถูกมอบหมายให้ทำโดยหุ่นยนต์เพื่อสร้างมูลค่าในกระบวนการทำงาน กล่าวได้อีกนัยหนึ่งว่า “การแทนที่” พนักงานถูกยกระดับทักษะจากการเรียนรู้ไปสู่ต่ำแหน่งที่สูงขึ้น (มีมูลค่ามากขึ้น) ในการจัดการและการควบคุมการใช้หุ่นยนต์ให้มีประสิทธิภาพมากที่สุด

robots 2

 

โดยทั่วไป  3 ตัวอย่างขั้นพื้นฐานในการนำเข้าของหุ่นยนต์อุตสาหกรรมนั้น มีผลในทิศทางที่ดีต่ออัตราการจ้างงาน :

  • ความถูกต้องแม่นยำคือความต้องการของงานอุตสาหกรรม

ชิ้นส่วนเกี่ยวกับไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ก็เป็นหนึ่งในภาคอุตสาหกรรมที่ต้องการประสิทธิภาพนี้ (ด้านความถูกต้องและแม่นยำ) ซึ่งการนำเข้าของหุ่นยนต์ในกรณีนี้ จะอนุญาตให้นำเข้าไปในภาคอุตสาหกรรมต่อประเทศหรือภูมิภาคที่ไม่เคยมีมาก่อน เพื่อช่วยสร้างงานในทุกด้านของอุตสาหกรรม (การผลิต การจำหน่าย การบริการ และอื่นๆ)

การผลิตเภสัชกรรม กับการให้ความสำคัญต่อกระบวนการที่ถูกต้องและแม่นยำ เช่น การนับจำนวน การคัดเลือก และบรรจุภัณฑ์ ก็เป็นอุตสาหกรรมที่จัดอยู่ในประเภทที่ต้องการความถูกต้องและแม่นยำนี้

  • การทำงานที่เสี่ยงอันตรายหรือไม่ปลอดภัย

การผลิตโลหะ เป็นอุตสาหกรรมหนึ่งที่อนุญาตให้ใช้หุ่นยนต์ในภาคอุตสาหกรรมได้เหมือนเดิมในการปฏิบัติงาน เป็นมาตรฐานการทำงานสำหรับการเปลี่ยนแปลงของพนักงาน เพื่อป้องกันการสูญเสียการจ้างงาน ซึ่งจะเป็นผลจากการหยุดการผลิต การผลิตวัสดุอันตรายหรือการทำงานในภาคอุตสาหกรรมที่ใช้วัสดุอันตราย ก็จัดรวมอยู่ในประเภทงานที่เสี่ยงอันตรายนี้ด้วย

  • อุตสาหกรรมในประเทศที่พัฒนาแล้วอาจจะถูกคุกคามด้วยการถูกตัดราคา จากประเทศที่มีต้นทุนแรงงานต่ำ

เมื่ออุตสาหกรรมได้แพร่กระจายไปทั่วโลก ประเทศที่เคยจะประสบความสำเร็จกลายเป็นภัยคุกคามแรงงานที่มีต้นทุนต่ำต่ออุตสาหกรรมในประเทศที่มีการพัฒนาสูง ซึ่งจะถูกคุกคามด้วยหน่วยงานใหม่ในพื่นที่ที่ต้นทุนต่ำ ประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นที่มาพร้อมกับการนำเข้าของหุ่นยนต์อุตสาหกรรม จึงเป็นปัจจัยหลักในการรักษาหน่วยงานในอุตสาหกรรม

 

การวิเคราะห์ล่าสุด : หุ่นยนต์กับการทำงานร่วมกับมนุษย์

การนำเข้าของหุ่นยนต์อุตสาหกรรมรุ่นใหม่ที่มีความซับซ้อนขึ้น จะซึ่งส่งผลที่ดีกับมนุษย์มากขึ้นในการพัฒนาที่จะมีผลกระทบในทิศทางที่ดีต่อการนำเข้าหุ่นยนต์อุตสาหกรรมและอัตราจ้างงานของมนุษย์ หุ่นยนต์กับ programming interfaces ที่เรียบง่ายและมีความปลอดภับสูงสุด ไม่จำเป็นต้องมีการแบ่งแยกระหว่างแรงงานหุ่นยนต์กับแรงงานมนุษย์ ซึ่งอาจเกิดผลกระทบต่อการปฏิวัติในภาคอุตสาหกรรมที่ไม่เคยได้รับผลจากหุ่นยนต์มาก่อน

ความยืดหยุ่นในการทำงานและมีความสะดวกมากขึ้นกับหุ่นยนต์รุ่นต่อไปที่สามารถช่วยสอนงานได้ ซึ่งจะอนุญาตให้พวกเขาใช้แรงงานที่แตกต่างจากงานที่ได้รับมอบหมาย บุคลากรที่มีทักษะและมีประสบการณ์ในการทำงานชุดหุ่นยนต์จะมีประสิทธิภาพ แต่คนที่ไม่เป็นจะต้องได้รับการฝึกฝนหรือคุ้นเคยกับวิธีการเขียนโปรแกรมแบบดั่งเดิม ถึงจะสามารถสอนหุ่นยนต์รุ่นใหม่ให้เป็นงานได้ เช่นเดียวกับการสอนงานเพื่อนร่วมงานใหม่

นี่ก็เป็นอีกตัวอย่างหนึ่งในการเพิ่มประสิทธิภาพการนำเข้าของหุ่นยนต์ ที่สามารถนำไปสู่การผลิต การปฏิบัติงาน การฟื้นฟูการผลิตขนาดเล็ก การรักษาการพัฒนาในทางเศรษฐกิจได้ และการรักษางานที่อาจจะสูญหายหรือการรวมกับกับบริษัทขนาดใหญ่

การเปลี่ยนแปลงในบทบาทหน้าที่ของลูกจ้างที่มาพร้อมกับการนำเข้าของหุ่นยนต์ในอุตสาหกรรมจนถึงปัจจุบัน เช่น การเปลี่ยนแปลงการผลิต ลูกจ้าง/ผู้ประกอบการ อื่นๆ ไปจนถึงโปรแกรมเมอร์ หรือผู้เชียวชาญด้านการบำรุงรักษา/ตั้งค่า สำหรับหุ่นยนต์ที่กำลังปฏิบัติงาน เป็นปัจจัยในการลดผลกระทบทางลบของหุ่นยนต์ต่อการจ้างงาน หุ่นยนต์รุ่นใหม่จะช่วยให้พนักงานที่มีประสบการณ์สามารถอยู่ในตำแหน่งเดิมได้โดยไม่ต้องฝึกอบรมอีกครั้ง

can robots play well with humans thumb

 

การวิเคราะห์ขั้นสุดท้าย : หุ่นยนต์คือเพื่อนของมนุษย์

ห่างไกลจากความผิดพลาดและล้มเหลวที่อาจทำให้เกิดความกลัวของพนักงานด้านการผลิต ซึ่งหุ่นยนต์อุตสาหกรรมมีความสามารถที่ตรงข้ามแน่นอน พนักงานที่มีทักษะและประสบการณ์ แม้จะไม่ได้รับการศึกษาระดับสูง ก็จะได้เรียนรู้เทคโนโลยีใหม่ๆ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการทำงาน และก้าวไปสู่การควบคุมดูแลในตำแหน่งที่ดำรงอยู่ รวมทั้งการควบคุมการทำงานของหุ่นยนต์โดยตรง ด้วยศักยภาพในการช่วยเหลือภาคอุตสาหกรรมของภูมิภาค การรักษาผู้ว่าจ้างในอุตสาหกรรมที่มีอยู่หรือแม้กระทั่งการอนุญาติให้มีการนำเข้าของภาคอุตสาหกรรมที่ไม่เคยมีมาก่อน การนำเข้าของหุ่นยนต์อุตสาหกรรมจะมีศักยภาพ เมื่อจัดการได้อย่างเหมาะสม เพื่อเป็นประโยชน์

 

ซินเนอร์จี้ซอฟต์ ตัวแทนจำหน่ายซอฟต์แวร์อย่างเป็นทางการและถูกต้องในประเทศไทยของออโตเดสก์ สำหรับท่านที่ต้องการทราบข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ สามารถสอบถามได้ทางเจ้าหน้าที่ซินเนอร์จี้ซอฟต์ที่ This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it. หรือ 085-323-5453, 02-692-2575 หรือทาง Online Store ทางเรายินดีให้คำปรึกษาอย่างมืออาชีพ

บทความที่เกี่ยวข้อง

synergysoft

บริษัท ซินเนอร์จี้ซอฟต์ โซลูชั่น จำกัด

135/58 อาคารอมรพันธ์ 205 ทาวเวอร์ 2 ชั้น 19 ซอยรัชดาภิเษก 7  ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กทม. 10400

โทรศัพท์ , แฟกซ์ : 02-692-2575

ติดต่อสอบถาม

อีเมล (E-mail) : sales@synergysoft

ฝ่ายขาย : 085-323-5453

ติดตามเรา

AUTODESK SOFTWARE

OTHER SOFTWARE

RELATED LINK

Construction & Design Solution by Synergysoft
แหล่งรวบรวมความรู้ เทคโนโลยี และโซลูชั่นการออกแบบงานอาคารด้วยระบบ BIM งานสถาปัตยกรรม งานโครงสร้างเหล็กและคอนกรีต งานระบบ การก่อสร้าง และคลาวด์โซลูชั่น

Manufacturing Solution by Synergysoft
แหล่งรวบรวมความรู้ เทคโนโลยี และโซลูชั่นการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ 3 มิติ สำหรับมืออาชีพ งานวิศวกรรม งานเครื่องจักรกล งานเอกสาร และการจำลองผลิตภัณฑ์

Synergysoft Education Center fanpage
อัพเดตข่าวสารการอบรม ตารางการอบรมต่างๆ ผ่าน ซินเนอร์จี้ซอฟต์ เอ็ดดูเคชั่น เซนเตอร์ แฟนเพจ

Construction & Design Solution by Synergysoft
แหล่งรวบรวมความรู้ เทคโนโลยี และโซลูชั่นการออกแบบงานอาคารด้วยระบบ BIM งานสถาปัตยกรรม งานโครงสร้างเหล็กและคอนกรีต งานระบบ การก่อสร้าง และคลาวด์โซลูชั่น

 

Synergysoft Education Center
Autodesk Authorized Training Center
ศูนย์อบรมการใช้โปรแกรมออกแบบและทดสอบอย่างเป็นทางการจากออโตเดสก์

Synergysoft Online Store
ร้านซอฟต์แวร์ออนไลน์ ชำระด้วยบัตรเครดิตได้

Luvicha
เว็บออนไลน์เทรนนิ่ง เรียนรู้ได้ 24 ชั่วโมง ได้ทุกที่ ทุกเวลา

ร่วมงานกับเรา
Privacy Policy

 

Copyright 2024 © All Rights Reserved by Synergysoft