คอร์สเรียน Autodesk Inventor สำหรับงานออกแบบสามมิติขั้นสูง
เนื้อหาหลักในคอร์สเรียนนี้
ต่อยอดจากการใช้งาน Autodesk Inventor Essentials Course ผู้อบรมจะสามารถใช้โปรแกรมในเชิงลึกมากขึ้น โมเดลชิ้นส่วนที่มีความสลับซับซ้อนมากขึ้น สามารถทำงาน Assembly ชั้นสูงได้
วัตถุประสงค์
เพื่อให้ผู้อบรมใช้งาน Autodesk Inventor ได้ในขั้นสูง นำไปใช้ในการทำงานจริงได้
คุณสมบัติผู้เข้าอบรม
- ต้องผ่านการอบรม Autodesk Inventor Essentials Course (INV-01) มาก่อน
- ระดับ : สูง
ค่าอบรม (ราคานี้ยังไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม)
- 9,000 บาท/คน/คอร์ส (2 วัน) (ราคานี้รวมค่าอบรม ค่าอาหารกลางวัน อาหารว่าง ค่าหนังสือ)
เนื้อหาในการอบรม
การโมเดล Part ขั้นสูง (Advance Part Modeling)
การจัดการตั้งค่าการแสดงผลโมเดลขั้นสูง
- การปรับตั้งค่าการแสดงผลโมเดลในโปรแกรม
- การปรับตั้งค่างาน Shop Drawing ในโปรแกรม
การสร้างโมเดล Part ด้วย Multi-Body
- การสร้าง Multi-Body Part
- การนำ Multi-Body Part ไป Assembly
เทคนิคการสร้างเส้น Sketch 2 มิติ และ 3 มิติ
- การใช้งานชุดคำสั่งในการสร้างเส้น Sketch 2 มิติและ 3 มิติ
- เทคนิคการใช้คำสั่ง Loft , Sweep ขั้นสูง
เทคนิคการสร้าง Surfaces
- ขั้นตอนการสร้าง Surfaces ขั้นพื้นฐาน
- เครื่องมือที่ใช้ในการสร้าง Surfaces
- ขั้นตอนการ Import และแก้ไข Surfaces
- การนำเข้าไฟล์ CAD เพื่อนำมาใช้อ้างอิงในการสร้าง Surfaces
- การ Export ข้อมูลไปยังไฟล์นามสกุลอื่นๆ
การสร้าง iFeatures และ iParts เพื่อใช้งานกับโมเดลชิ้นงาน
- ทำความเข้าใจเกี่ยวกับ Parameters สำหรับ iPart
- การสร้าง iPart
- การนำเข้า iFeature ลงใน catalog
- การนำเข้า iFeature ไปยัง โมเดลชิ้นงาน Part
- การสร้างตาราง iParts
การสร้าง Part ด้วยชุดคำสั่ง iLogic
- ทำความเข้าใจระบบ iLogic
- การสร้าง rules และ parameter
การประกอบโมเดลขั้นสูง (Advance Assembly Modeling)
เทคนิคการใช้คำสั่งเพื่อการ Assembly ขั้นสูง
- การคัดลอก Component ด้วยการใช้คำสั่ง Pattern, Mirror และ Copy ใน Assembly
- การสร้าง iMates เพื่อนำไปใช้กับการ Assembly
- การสร้าง iAssemblies เพื่อนำไปใช้กับการ Assembly
- การสร้าง iLogic เพื่อนำไปใช้กับการ Assembly
- การใช้คำสั่ง Shrink-wrap
- การนำเอา Spread Sheet Excel มาใช้เชื่อมโยงข้อมูลกับ Inventor
การใช้คำสั่ง Frame Generator
- การใช้งานชุดคำสั่ง Frame Generator สำหรับงานโครงสร้าง
- การนำ Frame โครงสร้างที่สร้างขึ้นไปใช้งานต่อในส่วนของการ Assembly
การสร้างโมเดลให้เคลื่อนไหวตามรูปแบบที่กำหนดไว้
- การตั้งค่าและใช้งาน Drive Constraint และ Contact Solver
- การตั้งค่า Setting Limit
- การตรวจสอบการชนกันของโมเดล
Top-Down Design technique for creating assemblies and its components.
- การสร้างโมเดล Part ใหม่ ในงาน Assembly
- การใช้งาน Associative Link
- การสร้างโมเดลรูปแบบ Multi-Body Part
- การใช้งาน Layout Design ในงาน Assembly
- การใช้ Adaptive Parts ในงาน Assembly
การตั้งค่าแสดงผลงาน Assembly
- การแสดงตำแหน่งการทำงานของชิ้นงานด้วย Positional Representations
- การจัดการโมเดล Assembly ด้วย Level of Detail Representations
- การบันทึกมุมมองด้วย View Representations