คอร์สอบรม Autodesk Revit สำหรับการสร้างโมเดลงานระบบไฟฟ้าอาคารขนาดใหญ่
ELE-01 : Autodesk Revit Electrical Modeling for Building Project Training Course
เนื้อหาหลักในคอร์สเรียนนี้
ผู้เข้าอบรมจะได้ฝึกฝนทักษะการใช้งานคำสั่งที่เกี่ยวข้องกับการสร้างโมเดลงานระบบไฟฟ้า ตั้งแต่การนำเข้าไฟล์โมเดลงานสถาปัตย์, โมเดลงานโครงสร้างและไฟล์งานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ศึกษาการเชื่อมโยงค่าพิกัดอาคารระหว่างไฟล์ การสร้างโมเดลงานระบบไฟฟ้าเช่น การสร้างโมเดลระบบเมนไฟฟ้าเข้าโครงการ (Main Incoming) การสร้างโมเดลระบบไฟฟ้าในห้องเครื่องกำเนิดไฟฟ้า (Generator Room) การสร้างโมเดลระบบไฟฟ้าในห้องไฟฟ้าหลัก (MDB Room) การสร้างโมเดลอุปกรณ์ไฟฟ้าส่องสว่าง (Lighting Fixture) การสร้างโมเดลระบบไฟฟ้าในห้องพักอาศัย เป็นต้น
วัตถุประสงค์
เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีทักษะการสร้างโมเดลงานระบบไฟฟ้าจากโปรแกรม Autodesk Revit สำหรับงานอาคารขนาดใหญ่และนำไปใช้งานจริงได้อย่างถูกต้อง
คอร์สนี้เหมาะสำหรับ
- ผู้ที่ใช้งาน Revit อยู่แล้ว
- วิศวกร / ผู้ออกแบบ
- BIM Modeler
- นิสิต นักศึกษา ที่สนใจ
คุณสมบัติผู้เข้าอบรม
- ผ่านการอบรมคอร์สพื้นฐาน RVT-01 มาก่อน หรือหากมีพื้นฐานการใช้งาน Autodesk Revit อยู่แล้ว สามารถทำแบบทดสอบวัดระดับก่อนเข้าอบรมได้
- มีประสบการณ์ด้านการทำงานสถาปัตยกรรม
- สามารถใช้งานคอมพิวเตอร์พื้นฐานได้
- ระดับ : เบื้องต้น – ปานกลาง
ค่าอบรม (ราคานี้ยังไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม)
- สอนสด 12,000 บาท/คน/คอร์ส (3 วัน) (ราคานี้รวมค่าอบรม ค่าอาหารกลางวัน อาหารว่าง ค่าหนังสือ)
- สอนสดออนไลน์ x,xxx บาท/คน/คอร์ส (3 วัน) (รวมค่าอบรม ค่าหนังสือ)
เนื้อหาในการอบรม
1.การเริ่มต้นสร้างไฟล์สำหรับโมเดลงานระบบไฟฟ้า (ELE)
- การเลือกใช้ Template File สำหรับงานระบบไฟฟ้า
- การ Save ไฟล์ และการตั้งชื่อไฟล์
- การตั้งค่า Project Unit สำหรับงานระบบไฟฟ้า
- การตั้งค่า Elactrical Setting สำหรับงานไฟฟ้า
- การตั้งค่า Conduit ใน Electrical Setting สำหรับงานไฟฟ้า
2. การนำเข้าโมเดลงานสถาปัตย์เข้ามาใช้งานในงานระบบไฟฟ้า (ELE)
- การแบ่งไฟล์ในการทำงาน (File Mapping)
- การจัดการ Link model Type (Overlay/Attach)
- การตรวจสอบไฟล์งานสถาปัตย์ก่อน Link
- การสร้างไฟล์งานโครงสร้างและตั้งชื่อไฟล์ (File Naming)
3. การสร้างมุมมองและนำเข้าข้อมูลสำหรับโมเดลระบบไฟฟ้า (ELE)
- การสร้างแปลนพื้น (Floor Plan) โดยอ้างอิงระดับชั้นจากงานสถาปัตย์
- การสร้างแปลนฝ้าเพดาน (Ceiling Plan) โดยอ้างอิงระดับชั้นจากงานสถาปัตย์
- การจัดเรียงรายการมุมมอง (View) ในหน้าต่าง Project Browser
- การมุมมองรูปด้าน รูปตัด แบบขยาย สำหรับการสร้างโมเดลงานระบบไฟฟ้า
- การตั้งค่าการแสดงผล ความละเอียด และระดับการมองเห็นของแต่ละมุมมอง
- การนำเข้าไฟล์ AutoCAD (.dwg) โดยวิธี Link CAD
- การนำเข้าไฟล์ AutoCAD (.dwg) โดยวิธี Import CAD
- การนำเข้า family ของอุปกรณ์เข้ามาในโมเดลงานระบบไฟฟ้า
4.การตั้งค่าชนิดรางไฟฟ้า (Cable Tray Type) และชนิดท่อร้อยสายไฟ (Conduit Type)
- การสร้างชนิดรางไฟฟ้า (Cable Tray Type) และการเลือก Fitting
- การสร้างชนิดรางไฟฟ้า (Conduit Type) และการเลือก Fitting
- การใช้คำสั่งพื้นฐานของงานไฟฟ้าในการสร้างโมเดลรางไฟฟ้าและท่อร้อยสายไฟ
- การแก้ไข Fitting ของรางไฟฟ้าและท่อร้อยสายไฟแต่ละชนิดใน Type Properties
- การใช้คำสั่ง Re-apply Type ในการแก้ไขชนิดรางไฟฟ้าและท่อร้อยสายไฟ
- การใช้คำสั่ง Change Type ในการแก้ไขชนิดรางไฟฟ้าและท่อร้อยสายไฟ
- การถ่ายโอนข้อมูล Cable Tray Type และ Conduit Type โดยใช้คำสั่ง Transfer Project Standard
5.การสร้างโมเดลระบบไฟฟ้าในห้องไฟฟ้าหลัก (MDB)
- การนำเข้าไฟล์ AutoCAD (.dwg) มาใช้ในการอ้างอิงตำแหน่งอุปกรณ์และแนวรางไฟฟ้า
- การนำเข้าและจัดวางโมเดลหม้อแปลง, ตู้ไฟฟ้า MDB, EMDB และอุปกรณ์อื่น ๆ ในห้องเครื่อง MDB
- การสร้างโมเดลฐานคอนกรีตสำหรับตู้ไฟฟ้า
- การสร้างโมเดลรางไฟฟ้า (Cable Tray) จากตู้ไฟฟ้าไปยังช่องเปิดงานไฟฟ้า (Shaft Opening) ภายในห้อง MDB
- การจัดวางอุปกรณ์ Support Hanger สำหรับยึดรางไฟฟ้า (Cable Tray)
6.การสร้างโมเดลระบบไฟฟ้าในห้องเครื่องกำเนิดไฟฟ้า (Generator Room)
- การนำเข้าและจัดวางโมเดล Generator, Control Panel และ Fuel Day Tank
- การสร้างโมเดลรางไฟฟ้า (Cable Tray) จาก GCP ไปยัง EMDB
- การจัดวางอุปกรณ์ Support Hanger สำหรับยึดรางไฟฟ้า (Cable Tray)
7.การสร้างโมเดลระบบเมนไฟฟ้าเข้าโครงการ (Main Incoming)
- การนำเข้าไฟล์ AutoCAD (.dwg) มาใช้ในการอ้างอิงตำแหน่งอุปกรณ์และแนวท่อไฟฟ้า
- การนำเข้าและจัดวางโมเดล Ring Main Unit (RMU) และ Main Incoming Manhole
- การสร้างโมเดลท่อร้อยสายไฟจากภายนอกเข้ามายังห้อง RMU
- การสร้างโมเดล Duct Bank
8.การสร้างโมเดลไฟส่องสว่างชั้นจอดรถ
- การนำเข้าไฟล์ AutoCAD (.dwg) มาใช้ในการอ้างอิงตำแหน่งอุปกรณ์และแนวท่อไฟฟ้า
- การนำเข้าและจัดวางโมเดลอุปกรณ์โคมไฟ สวิตซ์ และตู้ Load Panel
- การกำหนด Switch ID
- การสร้างวงจรไฟส่องสว่างให้กับอุปกรณ์โคมไฟและสวิตซ์
- การเขียนแนว Wiring ในรูปแบบต่าง ๆ
- การสร้างวงจร (Power Circuit) ของอุปกรณ์โคมไฟเข้ากับตู้ Load Panel
- การเขียนแนว Wiring ในรูปแบบอัตโนมัติโดยอ้างอิงจากวงจรไฟฟ้าของอุปกรณ์
- การสร้างตารางโหลด (Panel Schedule) ของตู้ Load Panel
9.การสร้างโมเดลระบบไฟฟ้าในห้องไฟฟ้าประจำชั้น (Electrical room)
- การนำเข้าไฟล์ AutoCAD (.dwg) มาใช้ในการอ้างอิงตำแหน่งอุปกรณ์และแนวท่อไฟฟ้า
- การนำเข้าและจัดวางโมเดลอุปกรณ์โคมไฟ สวิตซ์ และตู้ Load Panel
- การกำหนด Switch ID
- การสร้างวงจรไฟส่องสว่างให้กับอุปกรณ์โคมไฟและสวิตซ์
- การเขียนแนว Wiring ในรูปแบบต่าง ๆ
- การสร้างวงจร (Power Circuit) ของอุปกรณ์โคมไฟเข้ากับตู้ Load Panel
- การเขียนแนว Wiring ในรูปแบบอัตโนมัติโดยอ้างอิงจากวงจรไฟฟ้าของอุปกรณ์
- การสร้างตารางโหลด (Panel Schedule) ของตู้ Load Panel
10.การสร้างโมเดลระบบไฟฟ้าจากห้องไฟฟ้าประจำชั้นไปยังห้องพัก
- การนำเข้าไฟล์ AutoCAD (.dwg) มาใช้ในการอ้างอิงตำแหน่งอุปกรณ์และแนวท่อไฟฟ้า
- การนำเข้าและจัดวางโมเดลตู้ Consumer
- การเดินท่อร้อยสายไฟ (Conduit) จากอุปกรณ์ด้วยวิธี Draw Conduit From Face
- การเดินท่อร้อยสายไฟ (Conduit) ในรูปแบบทั่วไป
- การเดินท่อร้อยสายไฟ (Conduit) โดยใช้คำสั่ง Parallel Conduit
- การใช้คำสั่ง Trim / Extend เพื่อเชื่อมต่อท่อร้อยสายไฟ (Conduit)
11.การสร้างโมเดลระบบไฟฟ้าในห้องพัก
- การนำเข้าไฟล์ AutoCAD (.dwg) มาใช้ในการอ้างอิงตำแหน่งอุปกรณ์
- การนำเข้าและจัดวางโมเดลอุปกรณ์สวิตซ์ อุปกรณ์เต้ารับ อุปกรณ์ระบบสื่อสาร
- และอุปกรณ์แจ้งเหตุเพลิงไหม้
- การ Copy / Monitor อุปกรณ์โคมไฟภายในห้องพัก
- การเดินท่อร้อยสายไฟ (Conduit) ในผนังเพื่อเชื่อมต่อกับสวิตซ์และเต้ารับ
- การเดินท่อร้อยสายไฟ (Conduit) ภายในห้องพัก
- การเดินท่อ Flex จาก Junction Box ไปยังอุปกรณ์โคมไฟ
- การ Copy และ Mirror โมเดลห้องพักที่คล้ายกันทั้งชั้น
- การ Copy ไปยังชั้น Typical Floor
12.การสร้างโมเดลระบบปไฟส่องสว่าง ไฟฉุกเฉิน และป้ายทางออกฉุกเฉินบริเวณโถงทางเดิน
- การนำเข้าไฟล์ AutoCAD (.dwg) มาใช้ในการอ้างอิงตำแหน่งอุปกรณ์และแนวรางไฟฟ้า
- การนำเข้าและจัดวางโมเดลอุปกรณ์ไฟส่องสว่าง อุปกรณ์ไฟฉุกเฉิน และป้ายทางออกฉุกเฉิน
- การเดินรางไฟฟ้าบริเวณโถงทางเดิน
- การวาง Junction Box ที่อุปกรณ์โคมไฟและตามแนวรางไฟฟ้า
- การเดินท่อร้อยสายไฟ (Conduit) จาก Junction Box ไปยังอุปกรณ์
- การ Copy ไปยังชั้น Typical Floor
13.การสร้างโมเดลระบบแจ้งเพลิงไหม้และประกาศสาธารณะบริเวณโถงทางเดิน
- การนำเข้าไฟล์ AutoCAD (.dwg) มาใช้ในการอ้างอิงตำแหน่งอุปกรณ์ แนวท่อร้อยสายไฟและแนวรางไฟฟ้า
- การนำเข้าและจัดวางโมเดลอุปกรณ์ Smoke Detector, Manual Pull Station, Telephone Jack และ Alarm Speaker
- การเดินท่อร้อยสายไฟ (Conduit) และรางไฟฟ้าบริเวณโถงทางเดิน
- การ Copy ไปยังชั้น Typical Floor
14.การสร้างโมเดลระบบป้องกันฟ้าผ่าและการต่อลงดิน
- การนำเข้าไฟล์ AutoCAD (.dwg) มาใช้ในการอ้างอิงตำแหน่งอุปกรณ์และแนวท่อร้อยสายไฟ
- การนำเข้าและจัดวางโมเดลอุปกรณ์ Earth Pit
- การเดินท่อร้อยสายไฟ (Conduit) ระบบ Ground
15.การสร้างโมเดลงานไฟฟ้าในรูปแบบ Fabrication
- การตั้งค่าFabrication Setting สำหรับงานในรูปแบบ Fabrication
- การเลือกรูปแบบ Fabrication ใน Service Part Browser
- การจัดวาง Bus Way ในรูปแบบ Fabrication
- การใช้งานคำสั่ง Smart Snapping
- การใช้งานคำสั่ง Cut Into
- การใช้งานคำสั่ง Multi-Point Routing
- การสร้าง Hanger สำหรับยึด Bus Way แบบ Fabrication กับพื้นโครงสร้าง
16.การตรวจสอบโมเดลงานไฟฟ้า
- การตรวจสอบการเชื่อมต่อกันของ Cable Tray และ Conduit
- การตรวจสอบการเชื่อมต่อกันของ Electrical
- การตรวจสอบ Circuit System
17.การส่งออกไฟล์ (Export)
- การส่งออกไฟล์ในรูปแบบ PDF File
- การส่งออกไฟล์ในรูปแบบ DWG เพื่อนำไปใช้ในโปรแกรม AutoCAD
- การส่งออกไฟล์ในรูปแบบ NWC เพื่อนำไปใช้ในโปรแกรม Navisworks