คอร์สอบรม Autodesk Revit สำหรับการสร้างโมเดลงานระบบปรับอากาศอาคารขนาดใหญ่
HVA-01 : Autodesk Revit HVAC Modeling for Large Building Training Course
เนื้อหาหลักในคอร์สเรียนนี้
เรียนรู้กระบวนการทำงานในระบบ Building Information Modeling (BIM) และทำความรู้จักกับโปรแกรม Autodesk Revit ซึ่งเน้นให้ผู้เข้าอบรมได้ฝึกฝนทักษะการใช้งานคำสั่งที่เกี่ยวข้องกับการสร้างโมเดลงานระบบปรับอากาศสำหรับอาคารขนาดใหญ่ในทุกรูปแบบ ทั้งในส่วนของการ Design และ Fabrication เพื่อให้สามารถสร้างโมเดลที่นำไปใช้ในการก่อสร้างได้จริงในทุกส่วนของอาคารขนาดใหญ่ ทั้งระบบ Split Type , Water Chiller , Cooling Tower และ Pressurization System
วัตถุประสงค์
เพื่อให้ผู้อบรมสามารรถจัดทำแบบจากโปรแกรม Autodesk Revit ได้และนำไปใช้งานจริงได้อย่างถูกต้อง
คอร์สนี้เหมาะสำหรับ
- ผู้ที่ใช้งาน Revit อยู่แล้ว
- วิศวกร / ผู้ออกแบบ
- BIM Modeler
- นิสิต นักศึกษา ที่สนใจ
คุณสมบัติผู้เข้าอบรม
- ผ่านการอบรมคอร์สพื้นฐาน RVT-01 มาก่อน หรือหากมีพื้นฐานการใช้งาน Autodesk Revit อยู่แล้ว สามารถทำแบบทดสอบวัดระดับก่อนเข้าอบรมได้
- มีประสบการณ์ด้านการทำงานสถาปัตยกรรม
- สามารถใช้งานคอมพิวเตอร์พื้นฐานได้
- ระดับ เบื้องต้น – ปานกลาง
ค่าอบรม (ราคานี้ยังไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม)
- สอนสด 12,000 บาท/คน/คอร์ส (3 วัน) (ราคานี้รวมค่าอบรม ค่าอาหารกลางวัน อาหารว่าง ค่าหนังสือ)
- สอนสดออนไลน์ x,xxx บาท/คน/คอร์ส (3 วัน) (รวมค่าอบรม ค่าหนังสือ)
เนื้อหาในการอบรม
1. การเริ่มต้นสร้างไฟล์สำหรับโมเดลงานระบบปรับอากาศ (HVAC)
- การเลือกใช้ Template File สำหรับงานระบบปรับอากาศ
- การ Save ไฟล์ และการตั้งชื่อไฟล์
- การตั้งค่า Project Unit สำหรับงานระบบปรับอากาศ
- การตั้งค่า Mechanical Setting สำหรับงานเครื่องกล
- การตั้งค่า Duct ใน Mechanical Setting สำหรับงานเครื่องกล
2. การนำเข้าโมเดลงานสถาปัตย์เข้ามาใช้งานในงานระบบปรับอากาศ (HVAC)
- การนำเข้าโมเดลงานสถาปัตย์มาใช้ในไฟล์งานระบบปรับอากาศ
- การนำค่าพิกัดจากไฟล์งานสถาปัตย์มาใช้ในงานระบบปรับอากาศ
- การกำหนดจุดอ้างอิง Survey Point และ Project Base Point
- การคัดลอกข้อมูลจากไฟล์งานสถาปัตย์โดยใช้คำสั่ง Copy/Monitor
- การตรวจสอบการเปลี่ยนแปลงของโมเดลโดยใช้คำสั่ง Coordination Review
- การจัดการไฟล์ Link ด้วยคำสั่ง Manage Link
- การแบ่งไฟล์งานระบบปรับอากาศโดยใช้วิธีการ Link
3. การสร้างมุมมองและนำเข้าข้อมูลสำหรับโมเดลระบบปรับอากาศ (HVAC)
- การสร้างแปลนพื้น (Floor Plan) โดยอ้างอิงระดับชั้นจากงานสถาปัตย์
- การสร้างแปลนฝ้าเพดาน (Ceiling Plan) โดยอ้างอิงระดับชั้นจากงานสถาปัตย์
- การจัดเรียงรายการมุมมอง (View) ในหน้าต่าง Project Browser
- การมุมมองรูปด้าน รูปตัด แบบขยาย สำหรับการสร้างโมเดลงานระบบปรับอากาศ
- การตั้งค่าการแสดงผล ความละเอียด และระดับการมองเห็นของแต่ละมุมมอง
- การนำเข้าไฟล์ AutoCAD (.dwg) โดยวิธี Link CAD
- การนำเข้าไฟล์ AutoCAD (.dwg) โดยวิธี Import CAD
- การนำเข้า family ของอุปกรณ์เข้ามาในโมเดลงานระบบปรับอากาศ
4. การกำหนด Duct/Piping System และ Duct/Pipe Type สำหรับระบบปรับอากาศ
- การกำหนดระบบท่อลม (Duct System) ที่ใช้ในโครงการ และกำหนดสีแต่ละระบบ
- การสร้างชนิดท่อลม (Duct Type) และการเลือก Duct Fitting
- การกำหนดระบบท่อ (Piping System) ที่ใช้ในโครงการ และกำหนดสีแต่ละระบบ
- การสร้างชนิดท่อ (Pipe Type) และการเลือก Pipe Fitting
- การสร้าง Pipe Segment และการกำหนด Size Catalog ของท่อชนิดต่างๆ
- การถ่ายโอนข้อมูล Duct/Pipe Type และ System Type โดยใช้คำสั่ง Transfer Project Standard
5. การสร้างโมเดลระบบปรับอากาศในห้องเครื่อง Chiller
- การนำเข้าไฟล์ AutoCAD (.dwg) มาใช้ในการอ้างอิงตำแหน่งอุปกรณ์และแนวท่อ
- การนำเข้าและจัดวางโมเดล Chiller และ Water Pump ในห้องเครื่อง Chiller
- การสร้างโมเดลท่อระบบน้ำเย็น Chilled Water Pipe และ Condenser Water Pipe ภายในห้องเครื่อง Chiller
- การจัดวางโมเดล Valve และอุปกรณ์ต่างๆที่เกี่ยวข้องในห้องเครื่อง Chiller
- การเดินท่อ Main ระบบท่อน้ำเย็น จากห้องเครื่อง Chiller ไปยังท่อ Riser
- การสร้างฉนวนหุ้มท่อน้ำเย็นประเภทต่างๆ
6. การสร้างโมเดลระบบปรับอากาศบริเวณ Cooling Tower
- การนำเข้าไฟล์ AutoCAD (.dwg) มาใช้ในการอ้างอิงตำแหน่งอุปกรณ์และแนวท่อ
- การนำเข้าและจัดวางอุปกรณ์หอทำความเย็น Cooling Tower
- การสร้างโมเดลท่อระบบน้ำเย็น Condenser Water Pipe รูปแบบทั่วไป
- การสร้างโมเดลท่อระบบน้ำเย็น Condenser Water Pipe ด้วยคำสั่ง Parallel Pipe
- การสร้างโมเดลท่อระบบน้ำเย็น Condenser Water Pipe ด้วยคำสั่ง Connect Into
- การสร้างฉนวนหุ้มท่อน้ำเย็น
- การนำเข้าและจัดวางอุปกรณ์ Valve
- การนำเข้าและจัดวางอุปกรณ์ Pipe Support
7. การสร้างโมเดลงานระบบปรับอากาศแบบ Split Type
- การจัดวางโมเดลอุปกรณ์เครื่องปรับอากาศ แบบ Split Type
- การจัดวางโมเดลอุปกรณ์ Condensing Unit
- การจัดวางโมเดลอุปกรณ์ Thermostat
- การเดินท่อน้ำยาทำความเย็น
- การเดินท่อน้ำทิ้งจากเครื่องปรับอากาศ
- การสร้างฉนวนหุ้มท่อน้ำยาทำความเย็นและท่อน้ำทิ้ง
8. การสร้างโมเดลท่อน้ำเย็นในระบบปรับอากาศ Water Cooled Water Chiller
- การนำเข้าไฟล์ AutoCAD (.dwg) มาใช้ในการอ้างอิงตำแหน่งอุปกรณ์และแนวท่อ
- การนำเข้าและจัดวางโมเดล Fan Coil Unit
- การเขียนโมเดลท่อ Riser ระบบท่อน้ำเย็น
- การเขียนโมเดล ท่อน้ำเย็นจาก Fan Coil Unit ไปยังท่อ Riser
- การนำเข้าและจัดวางโมเดล Valve สำหรับระบบท่อน้ำเย็น
- การสร้างฉนวนหุ้มท่อน้ำเย็น
9.การสร้างโมเดลท่อลมในระบบปรับอากาศ Water Cooled Water Chiller
- การนำเข้าไฟล์ AutoCAD (.dwg) มาใช้ในการอ้างอิงตำแหน่งอุปกรณ์และแนวท่อลม
- การจัดวางโมเดลอุปกรณ์หัวจ่าย (Air Terminal)
- การเขียนโมเดลท่อ Duct ในรูปแบบทั่วไป
- การเขียนโมเดลท่อ Duct ในรูปแบบอัตโนมัติ
- การคำนวณขนาดท่อ Duct
- การสร้างฉนวนหุ้มท่อ Duct
- การจัดวางโมเดล Duct Accessories
10. การสร้างโมเดลระบบปรับอากาศ ชั้นห้องพัก
- การนำเข้าไฟล์ AutoCAD (.dwg) มาใช้ในการอ้างอิงตำแหน่งอุปกรณ์และแนวท่อ
- การนำเข้าและวางอุปกรณ์ Fan Coil Unit ในห้องพัก
- การนำเข้าและวางอุปกรณ์ Air Handing Unit บริเวณโถงทางเดิน
- การนำเข้าและวางอุปกรณ์ Air Terminal ในห้องพักและโถงทางเดิน
- การเดินท่อ Duct ภายในห้องพักและบริเวณโถงทางเดิน
- การเขียนโมเดลท่อน้ำเย็น Chilled Water Pipe จากท่อ Riser มายังเครื่องปรับอากาศ
- การเดินท่อลมชนิด Flex Duct
- การนำเข้าอุปกรณ์ Pressurized Fan, Ventilation Fan และ Exhaust Fan
11. การสร้างโมเดลระบบอัดอากาศและระบายอากาศ
- การนำเข้าไฟล์ AutoCAD (.dwg) มาใช้ในการอ้างอิงตำแหน่งอุปกรณ์และแนวท่อ
- การนำเข้าอุปกรณ์ Pressurized Fan, Ventilation Fan และ Exhaust Fan
- การจัดวางอุปกรณ์ Pressurized Fan และ Air Grille สำหรับระบบอัดอากาศ
- การสร้างโมเดลท่อ Duct สำหรับระบบอัดอากาศ
- การนำเข้าและจัดวางอุปกรณ์ตู้ควบคุม
- การจัดวางอุปกรณ์ Ventilation Fan บริเวณที่จอดรถ
- การจัดวางอุปกรณ์ Exhaust Fan และ Exhaust Air Grille
- การสร้างโมเดลท่อ Duct สำหรับระบบระบายอากาศ
12. การสร้างโมเดลระบบปรับอากาศเสมือนจริงในรูปแบบ Fabrication
- การตั้งค่า Fabrication Setting สำหรับงานในรูปแบบ Fabrication
- การเลือกรูปแบบท่อ Fabrication ใน Service Part Browser
- การจัดวางท่อ Duct ในรูปแบบ Fabrication
- การใช้งานคำสั่ง Smart Snapping
- การใช้งานคำสั่ง Cut Into
- การใช้งานคำสั่ง Multi-Point Routing
- การเปลี่ยนรูปแบบท่อ Duct จากรูปแบบทั่วไป มาเป็นแบบ Fabrication
- การสร้าง Hanger สำหรับยึดรั้งท่อ Duct ในรูปแบบ Fabrication กับพื้นโครงสร้าง
13. การส่งออกไฟล์ (Export)
- การส่งออกไฟล์ในรูปแบบ PDF File
- การส่งออกไฟล์ในรูปแบบ DWG เพื่อนำไปใช้ในโปรแกรม AutoCAD
- การส่งออกไฟล์ในรูปแบบ NWC เพื่อนำไปใช้ในโปรแกรม Navisworks